ประเภท: |
โครงงานนักศึกษา |
|
ผู้แต่ง: |
ปราณี หรือชู, อัสนา จารง |
|
สำนักพิมพ์: |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
|
ปีที่พิมพ์: |
2547 |
|
เลขหมู่: |
ว.678.2ป17ป |
|
รายละเอียด: |
ในการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอ่อนค่าความเค้นในยางสังเคราะห์วัลคาไนซ์ ใช้ยาง สังเคราะห์ 2 ชนิด ได้แก่ ยางสไตรีนบิวตาไดอีนหรือยางเอสบีอาร์และยางบิวตาไดอื่นหรือยางปี อาร์ โดยศึกษาอิทธิพลของชนิดของยางทั้งที่ไม่มีสารตัวเติมและมีสารตัวเติม ชนิดและปริมาณ สารตัวเดิม ระบบการวัลคาไนซ์ อัตราเร็วในการผิดรูป จากกรรศึกษาครั้งนี้พบว่า เมื่อเปรียบเทียบยางธรรมชาติกับยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติ จะให้ค่าความเค้นสูงกว่ายางสังเคราะห์ แต่เมื่อเปรียบเทียบยางสังเคราะห์ทั้ง 2 ชนิด ยางเอสบีอาร์ จะให้ค่าความเค้นสูงกว่ายางบีอาร์เล็กน้อย ความอ่อนคำความเค้นในยางสังเคราะห์ที่มีสารตัวเติมมี ค่าสูงกว่ายางที่ไม่มีสารตัวเต็ม ชนิดและปริมาณสารตัวเติมมีผลต่อความอ่อนค่าความเค้น ในยาง เอสบีอาร์ เขม่าดำเกรด N 330 ให้ค่าความเค้นสูงสุด ในยางบีอาร์ ซิลิดาให้ค่าความเค้นสูงสุด ความ อ่อนค่าความเค้นลดลงเมื่อปริมาณสารตัวเติมเพิ่มขึ้น ระบบสารให้กำมะถันมีค่าความเค้นของยาง สูงกว่าระบบกำมะถันปกติ ระบบเซมิอีวีและระบบอีวี อัตราเร็วในการผิดรูปมีผลต่อความอ่อนค่า ความเค้น ในยางสังเคราะห์ที่ไม่มีสารตัวเติม ความอ่อนค่าความเค้นลดลงเมื่ออัตราเร็วในการผิด รูปต่ำลง ในยางสังเคราะห์ที่มีสารตัวเติม ความอ่อนค่าความเค้นลดลงเมื่ออัตราเร็วในการผิดรูป เพิ่มขึ้น |
|
ไฟล์เอกสาร: (คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอ่อนค่าความเค้นของยางสังเคราะห์วัลคาไนซ์ |
|