การเพิ่มศักยภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเส้นใยปาล์มโดยการปรับสภาพด้วยเอทานอล (Enhancing the potential of biogas production from palm Fiber by Ethanol Pretreatment)

ประเภท: 

โครงงานนักศึกษา

ผู้แต่ง: 

สุพัตรา ชูเปีย, อรสา นาบ้าน

สำนักพิมพ์: 

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2561

เลขหมู่: 

ว 665.776 ส46ก

รายละเอียด: 

งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการเพิ่มศักยภาพในการผลิตผลิตก๊าซชีวภาพจากเส้นใยปาล์มโดยการปรับสภาพเส้นใยปาล์มด้วยเอทานอล ร้อยละ 10 30 และ 50 ควบคุมอุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียส ใช้ระยะเลาในการปรับสภาพ 30 นาที่ ทำการหมักร่มกับหัวเชื้อจุลินทรีย์จากบ่อหมักก๊าซชีวภาพในระบบไร้อากาศจากโรงงานปาล์มน้ำมัน ในอัตราส่วน (หัวเชื้อจุลินทรีย์ต่อเส้นใยปาล์ม) 3.1 ทำการหมักแบบกะ จากการศึกษา พบว่าการปรับสภาพเส้นใยปาล์มด้วยเอทานอล ร้อยละ 50 เป็นสภาวะที่ดีที่สุดในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเส้นใยปาล์ม มีศักยภาพในการผลิตก๊าซมีเทนมากกว่าเส้นใยปาล์มที่ไม่ผ่านการปรับสภาพ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 สามารถผลิตก๊าซมีเทนสะสมได้สูงสุด เท่ากับ 168.77 L CH4/Kg-VS ซึ่งสามารถเพิ่มศักยภาพในการผลิตก๊าซมีเทนได้ 2.1 เท่า

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

การเพิ่มศักยภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเส้นใยปาล์มโดยการปรับสภาพด้วยเอทานอล