พฤติกรรมการถูกชะของเบต้าแคโรทีนภายใต้เฟสเคลื่อนที่ที่ประกอบด้วยตัวทำละลาย 2 ชนิด สำหรับการชะแบบไอโซเครติกโดยเทคนิคโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูงแบบผันกลับ(Retention behaviour of B-carotene under binary mobile phase for isocratic elution by reversed-phase h

ประเภท: 

โครงงานนักศึกษา

ผู้แต่ง: 

จิราภรณ์ หนูุยิ้มซ้าย, นิธิวดี จุลนิล, มณฑกานต์ จันทรังษี

สำนักพิมพ์: 

โปรแกรมวิชาเคมีและเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2556

เลขหมู่: 

ว.543.84 จ37พ

รายละเอียด: 

ในการศึกษาพฤติกรรมการถูกชะบองเบต้าแคโรทีน ภายใต้ระบบ Hotate ไสยเทคนิค RP-HPLC ด้วยคอลัมน์ C-18 ได้ใช้สภาวะที่เหมาะสมของเครื่อง HPLC ตั้งนี้ ความยาวคลื่น สูงสุดในการดูดกลืนแสงยูวี-วิสิเบิลเท่ากับ 445 นาโนเมตร (mm) และอัตราการไหลของเฟสเคลื่อนที่ เท่ากับ 1.5 มีสติ ตรนาที (mL/min) โดยซะด้วยเฟสเตอนที่ (Topile phasa) ที่ประกอบด้วย ตัวทําละสายผสม 2 ชนิด จํานวน 2 แบบ ได้แก่ BL-Wapan-Methand (MsH) และ GraropangAcetonitrile (ACN) andulaenliunas (volume fractions; y 909 Iso-propanol 1 MsOH หรือ ACN เท่ากับร้อยละ 0, 0.05, 0.10 0.15 0.20 และ 0.25 เมื่อชะที่ยุณหภูมี 25 และ 35 องศาเซลเซียส (°C) ในการศึกษาได้อธิบายอันตรกิริยาของเบต้าแคโรทีนในระหว่างการถูกชะ โดยการเขียนกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่สารถูกหน่วงอยู่กับเฟสองที่เทียบกับ เวลาที่สารถูกชะออกมากับเฟสเคลื่อนที่ (retenian factor: 9 กับต่า " พบว่าไต้กราฟแบบ เอกซ์โพแนนเชียล ที่อธิบายด้วยสมการ ๕ = se” นอกจากนี้ใต้เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างศา 1/F กับ gr และ log # กับ ศ พบว่าใต้กราฟเส้นตรงที่สามารถอธิบายด้วยสมการที่ แตกต่างกัน ได้แก่ 1.6 = S + 1/K, และ Ing # = = 5g #ng ตามลําดับ จากกราฟเส้นตรง ทั้ง 2 แบบ ให้ใช้พารามิเตอร์ทางโครมาโทกราฟีต่าง ๆ ได้แก่ s, k, และ log A, มาอธิบาย การถูกชะของเบต้าแคโรทีน เมื่อใช้ MeOH หรือ ACN เป็นเฟสเคลื่อนที่เพียงอย่างเดียวจาก การศึกษาพบว่า ตัวทําละลายผสมระหว่าง 150-propanol ACN ที่ gr เท่ากับร้อยละ 0.25 เป็น เฟสเคลื่อนที่ที่เหมาะสมในการระเบต้าแคโรทีนที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส โดยใช้เวลา 13.97 นาที โดยวิธีที่ใช้ในการศึกษานี้ได้ให้ช่วงความเป็นเส้นตรงตั้งแต่ 5 ถึง 80 มิลฝึกรัมต่อลิตร (mgL) ที่มี ทําสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ () เท่ากับ 0.8998 ร้อยละของการไต้กลับคืนมาเท่ากับ 88.25 ศาเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (RSD] เทากับ 0.89% ขีดจํากัดตําสูตของการตรวจวัด (Lon) เท่ากับ 0.0 มิลลิกรัมต่อก็ตร และปริมาณที่สูจที่ชรวจหาปริมาณ (Lon) ได้มีค่าเท่ากับ 0.54 มีดฝึกรัมต่อชิตร วิธีการที่ได้พัฒนาได้นําไปประยุกต์ใช้ในการหาปริมาแบต้าแคโรทีนในตัวอย่าง ผักที่แตกต่างกัน 7 ชนิด พบว่ามีปริมาณเบต้าแคโรทีนในแครอท เท่ากับ 1130.81 ผักโขม เท่ากับ 451 80 พกทอง เท่ากับ 361 45 คะน้า เท่ากับ 252. มะเขือเทศ เท่ากับ 211.27 และบรอกโคลี เท่ากับ 183.85 กรัมต่อกิโลกรัม (g/kg) ส่วนสาหร่ายผมนางไม่สามารถตรวจวัดเบต้าแคโรทีนได้

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน)