ประเภท: |
โครงงานนักศึกษา |
|
ผู้แต่ง: |
ต่วนซาวีย๊ะ ยือแร, นูรีดา โตะหิ |
|
สำนักพิมพ์: |
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ แขนงวิชาจุลชีววิทยา (Microbiology) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
|
ปีที่พิมพ์: |
2558 |
|
เลขหมู่: |
ว. 579.3 ต17ก |
|
รายละเอียด: |
การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากเปลือกพืชสมุนไพร 2 ชนิด ได้แก่ มะนาว และทับทิมต่อการยับยั้งเชื้อ Stophyccocas epidemas มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดทั้ง 2 ชนิด ในการยับยั้งเชื้อดังกล่าว เชื้อที่ใช้ในการทตสอบได้คัดแยกจากกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา พบว่าเป็นเชื้อ S exdemds จำนวน 12ไอโซเลต สุ่มเลือกมาทำการทดลองต่อ จำนวน 3 ไอโซเลต คือ 1: /. และ I จ ากนั้นสกัดสารด้วยเอทานอล 95เปอร์เซ็นต์ ได้สารสกัดหยาบคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของสารสกัดที่ได้จากเปลือกมะนาว และเปลือกทับทิมคือ 37.10 และ 9187 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดด้วยวิธี diskdiffution ใช้สารสกัด ที่ระดับความเข้มข้น 300, 200 100 และ 50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตรพบว่าสารสกัดจากเปลือกทับทิมมีประสิทธิภาพในการการยับยั้งคารเจริญของเชื้อสามารถยับยั้งได้ดีที่สุดที่ระดับความเข้มข้น 300 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งต่อเชื้อ I, 4a และIs เท่ากับ 20.87:1.57, 19.53+1.15 และ 22.80+0.52 มิลลิเมตร ตามลำดับสารสกัดจากเปลือกมะนาวมีประสิทธิภาพต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อที่ดีที่สุต ที่ระดับความเข้มข้น 300 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้ง เท่ากับ 1277057, 1187+058 และ14.77 0.58 ตามลำดับ จากนั้นทดสอบหาคำความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ(Minimum Inhibitory Concentration; MIC) ด้วยวิธี Broth dilution technique และการหาค่าความเข้มขันต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อ (Minimum Bactericidal Concentration: MBC) ด้วยวิธี Agardilution technique จากการศึกษาพบว่าสารสกัดจากเปลือกทับทิมมีค่า MIC ต่อเชื้อทั้ง 3 ไอโซเลตเท่ากับ 6.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และมีค่า MBC ต่อเชื้อทั้ง 3 ไอโซเลต เท่ากับ 125 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ส่วนสารสกัดจากเปลือกมะนาวมีค่า MIC ต่อเชื้อทั้ง 3 ไอโซเลต เท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และมีค่า MBC ต่อเชื้อทั้ง 3 ไอโซเลตเท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ดังนั้นสารสกัดจากเปลือกทับทิมมีประสิทธิภาพต่อการยับยั้งเชื้อแบคที่เรียได้ดีกว่าสารสกัดจากเปลือกมะนาว |
|
ไฟล์เอกสาร: (คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) |
ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากเปลือกมะนาวและเปลือกทับทิมในการยับยั้งเชื้อ |
|