ประเภท: |
โครงงานนักศึกษา |
|
ผู้แต่ง: |
กมลทรรศน์ สิบมอง, อัสวาณี เหมวัง |
|
สำนักพิมพ์: |
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา |
|
ปีที่พิมพ์: |
2561 |
|
เลขหมู่: |
ว.665.776 ก16ก |
|
รายละเอียด: |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณภาพน้ำในคลองขุด ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา 2) ประเมินคุณภาพน้ำผิวดินในคลองขุดโดยใช้ดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป (WOI) โดยเก็บตัวอย่างน้ำจำนวน 5 จุด เดือนละ 1 ครั้ง ในเดือนธันว่าคม มกราคม และกุมภาพันธ์ จากการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทั่วไป ได้แก่ การนำไฟฟ้า อุณหภูมิ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ออกซิเจนละลาย(DO) ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) แอมโมเนีย แบคทีเรียกลุ่มพืคัลโคลิฟอร์ม (FCB) และแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมึด (TCB) ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำพบว่า อุณหภูมิมีค่าอยู่ในช่วง27.00-29.00 องศาเซลเซียส การนำไฟฟ้ามีค่าอยู่ในช่วง 23.10-339.00 ไมโครซีเมนต่อเซนติเมตรความเป็นกรด-ต่างมีค่าอยู่ในช่วง 6.13 -6.67 ออกซินละลายมีค่าอยู่ในช่วง 4.33-6.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์มีค่อยู่ในช่วง 6.75-24. 00 มีลลิกรัมต่อลิตร แอมโมเนียมีค่าอยู่ในช่วง 3.19-4.66 มิลลิกรัมต่อสิตร แบคที่เรียกลุ่มฟิคัสโคลิฟอร์มมีค่าอยู่ในช่วง 8. 30-39.00 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร และแบคที่เรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมดมีค่าอยู่ในช่วง 5.00-920.00 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งพบว่าค่า อุณหภูมิ ออกซีเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ และแอมโมเนีย มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินประเภทที่ 3 ในขณะที่ค่าความเป็นกรด-ด่างแบคทีเรียกลุ่มพืคัสโคลิฟอร์ม และแบคที่เรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินประเภทที่ 3 จากการประเมินคุณภาพน้ำโดยใช้ตัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป (WQI) พบว่าคะแนนดัชนีคุณภาพน้ำทั่วไป 5 พารามิเตอร์ ได้แก่ ออกซิเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ แอมโมเนียแบคที่เรียกลุ่มฟิคัลโคลิฟอร์ม และแบคที่เรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด มีะแนนรวมอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม มกราคม และกุมภาพันธ์ อยู่ในช่วง 54.80-58.00 55.60-58.80 และ57.00-60.00 |
|
ไฟล์เอกสาร: (คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) |
การศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเส้นใยปาล์มโดยการปรับสภาพด้วยน้ำร้อน |
|