รายละเอียด: |
ในกระบวนการสร้างสรรค์ ผู้สร้างสรรค์ได้เล็งเห็นถึงเนื้อหาสาระที่จะนำมาการประพันธ์บทร้องและบทเจรจา ซึ่งในกัณฑ์หิมพานต์ และ กัณฑ์ทานกัณฑ์มีการดำเนินเรื่องของตัวละครที่ไม่ขับซ้อนมากนัก ผู้สร้างสรรค์สามารถนำ เรื่องพระเวสสันดรชาดกกัณฑ์หิมพานดี และ ภัณฑ์ทานกัณฑ์ มาประพันธ์เป็นบทร้องในราและบทเจรจาโดยที่ผู้สร้างสรรค์สมารถนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานทางด้านศิลปะการแสดงในรูปแบบของละครโนรา ทั้งนี้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะการแสดงนิพนธ์ผู้สร้างสรรค์ได้ออกแบบท่ารำควบคู่กับธรรมชาติชาติในชีวิดประจำวันตามอิริยาของมนุษย์มาดีทำประกอบบทร้องและบทเจรจา ในการออกแบบท่ารำนั้นผู้สร้างสรรค์ได้คำนึงนึกถึงข้อมูลพื้นฐานของโนรามาเป็นบรรทัดฐานในการสร้างสรรค์ผลสานการแสดง โดยจำแนกรูปแบบขอมการแสดงออกเป็นฉากๆและเปลี่ยนฉากโดยใช้ตัวละคร มี ทั้งหมดอยู่ 2 ฉาก ซึ่งแต่ละฉากจะมีร้องละการเจรจาโต้ตอบไปมาระหว่างตัวละคร เพื่อดำเนินเรื่องราวและสื่อความหมาย ให้ผู้รับสารเข้าใจได้อย่างชัดเจน รูปแบบของการแสดงละครโนรา เรื่อง พระเวสสันดรชาดก มีรูปแบบการแสดงแบบละครโนรา ที่มีการผสมผสานกับละคร สมัยใหม่ โดยใช้การร้องบท การเจรจา เป็นการดำเนินเรื่อง และ คนตรีประกอบการแสดงผู้สร้างสรรค์นำตนตรี แบบละคร โนราดั้งเดิม และใช้การเจรา การแต่งกาย ฉาก แสง สี เสียง แบบละครสมัยใหม่ โดยผู้สร้างสรรค์สามารถอธิบายเป็นฉากๆ ลักษณะท่ารำของละครโนราเรื่อง พระเวสสันดรชาดก ผู้สร้างสรรค์ได้ออกแบบท่ารำเป็น 2 ลักษณะ คือ 1.การรำ ตีบท คือ การนำท่าโนราตีท่ารำประกอบบทร้อง โดยใช้ท่าพื้นฐานของโนรา เช่น ท่าเขาควาย , ท่าท่องโรง , ท่าพระอาทิตย์ ฯลฯ เป็นต้น 2. การแสดงท่าทางตามท้องเรื่อง คือ เป็นการใช้ท่าทางคามธรรมชาติของมนุษย์มาตีท่าประกอบในขณะที่ตัวละครพูด เจรจาโต้ตอบกัน ลักษณะเทคนิค แสง สี ประกอบการแสตงละครโนรา เรื่อง พระเวสสันดรชาดก เทคนิคแสงสี แสงสีเสียง ก็เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งของการสร้างบรรยากาศของเรื่องราวหรือการแสดงที่ผู้สร้างสรรค์จะสื่อให้ผู้ชม การสร้างสรรค์การแสคงโดยสร้างสรรค์ในด้านศิลปะการแสดงพื้นบ้านละครโนราชึ่ง ประกอบด้วย ประเด็นหลักๆ ดังนี้ 1. แนวความคิด 2. ลักษณะรูปแบบการแสดง 3. ลักษณะดนตรี 4. ลักษณะเครื่องแต่งกาย 5. อุปกรณ์ที่นำมาประกอบการแสดง 6. ระยะเวลาในการแสดง 7. ลักษณะท่ารำ 8. การคัดเลือกนักแสดง 9. เทคนิคแสงสีเสียงประกอบการแสคง 10. บทละคร และจัดนำผลงานสร้างสรรค์ออกสู่สาธารณชน |