การศึกษาปริมาณและองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชายหาด บริเวณชายหาดแหลมสนอ่อน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา (The study on the quantity and physical characteristic of marine debris at Laem Son-on beach, Mueang district, Songkhla province)

ประเภท: 

โครงงานนักศึกษา

ผู้แต่ง: 

ศิริพร รอดหยู่, สุรัตนา ทองสั้น, อาแอเสาะ อีซอ

สำนักพิมพ์: 

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2561

เลขหมู่: 

ว 363.728 ศ37ก

รายละเอียด: 

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปริมาณและองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชายหาด บริเวณ หลมสนอ่อน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พื้นที่การศึกษาเริ่มตั้งแต่แห่งหมุดศุลกากรถึงแหลมสนอ่อน ระยะทาง 3 กิโลเมตร กำหนดจุดเก็บตัวอย่าง 7 จุด เก็บตัวอย่างในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม 2560 รวม 15 ครั้ง จุดเก็บตัวอย่างมีพื้นที่วงกลม 78. 5 ตารางเมตร ผลการศึกษาพบว่า มูลฝอย ขายหาดเกิดขึ้นเฉลี่ย 21.79 กิโลกรัม/ครั้ง มีความหนาแน่นของมูลฝอยเฉลี่ย 0.08 กิโลกรัม/ลิตร และ องค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยที่พบมากที่สุดคือ พลาสติก 53.60 กิโลกรัม (ร้อยละ 38.44). รองลงมาคือ ไม้ 35.00 โลกรัม (ร้อยละ 25 . 75). แก้ว 28.60 กิโลกรัม (ร้อยละ 20.51), ยาง 8.71 กิโลกรัม (ร้อยละ 6.25), โฟม 5.00 ก็โลกรัม (ร้อยละ 3.59). ของเสียตราย ได้แก่ ขวดยา เข็มฉีด ยา กระป๋องยาน่าแมลง 2.90 กิโลกรัม (ร้อยละ 2 08), อลูมิเนียมและผ้า 1.40 กิโลกรัม (ร้อยละ 1 00), กระดาษ 140 กิโลกรัม (ร้อยละ 1.08) และกันบหรี่ 0.41 กิโลกรัม (ร้อยละ 0.29) ตามลำตับ จากการศึกษาประเภทพลาสติกที่พบในบริเวณแหลมสนอ่อน พบว่าพลาสติกส่วนใหญ่เป็นประเภท โพลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (LDPE) เช้น ถุงเย็น ฝาขวดน้ำ

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

การศึกษาปริมาณและองค์ประกอบทางกายภาพของมูลฝอยชายหาด