การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของดินบริเวณปากคลองสำโรง บ้านท่าสะอ้าน หมู่ที่ 8 ตำบลเขารูปช้าง อำเถอเมือง จังหวัดสงขลา : รายงานวิจัย

ประเภท: 

งานวิจัย

ผู้แต่ง: 

สุไรดา มิแย, สาปิน๊ะ ตามาต

สำนักพิมพ์: 

สถาบันราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2545

เลขหมู่: 

รายละเอียด: 

จากการศึกษาคุณสมบัติทางเศมีของดิน บริเวณปากคลองสำโรง บ้านท่าสะอ้าน ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา ในช่วงเตือนพฤศจิกายน พ.ศ.2545 จนถึงเดือน มีนาคม พ.ศ.2546 โดยการกำหนดบริเวณจุดเก็บ ตัวอย่างดินที่ต้องการศึกษาออกเป็น 7 บริเวณ แบ่งตามความกว้างของลำคลอง ออกไปทางด้านทิศใต้ ด้านทิศ เหนือ และจุดกึ่งกลางลำคลอง ซึ่งแต่ละจุดห่างกัน 14 เมตร ตัวแปรในการศึกษามีดังนี้คือ ความเป็นกรดเป็น ด่าง(PH), สภาพการนำไฟฟ้(Conductivity). ปริมาณโพแทสเซียม(potassium). ปริมาณฟอลฟอรัส (phosphorus), ปริมาณอินทรีย์วัตถุ(Oganic Matter), ปริมาณไนโตรเจน(Nitrogen). ความจุแคตไอออนที่ แลกเปลี่ยนได้(CEC), ปริมาณตะกั่ว(Pb), ปริมาณทองแดง(Cu),. และปริมาณสังกะสิ(Zn) ผลการศึกษาพบว่าดิน บริเวณปากคลองสำโรงเป็นดินที่มีความเป็นกรดสูง โดยเฉพาะบริเวณที่ห่างจุดกึ่งคลอง 28 เมตรทางทิศใด้ มีค่ ความเป็นกรดเป็นด่าง 2.94 มีค่การนำไฟฟ้าสูงคือ 21.23 d5/m ส่วนในบริเวณอื่นๆ มีค่ไกล้เคียงกัน คืออยู่ ในช่วง 16.33-19.76 d/m มีปริมาณอินทรีย์วัตถุสูงมากทั้ง 7 บริเวณ ปริมาณไนโตรเจนอยู่ในเกณฑ์ที่สูงมาก เช่นกันซึ่งแต่ละจุดจะมีปริมาณไนโตรเจนที่แตกต่างกัน บริเวณที่มีปริมาณนโตรเจนสูงที่สุดคือ บริเวณที่ห่างจด กึ่งกลางคลอง 14 เมตรทิตใต้ มีปริมาณไนโตรเจนเท่ากับ 0.29 ชบริเวณที่ห่างจุดกึ่งกลางคลอง 42 เมตรทิศ เหนือมีปริมาณไนโตรเจนต่ำสุดคือ 0.05% นอกจากนี้ปริมาณพ่อฟอรัสยังอยู่ในเกณฑ์ที่สูง ปริมาณตะกั่ว ทองแดง และสังกะสี ซึ่งเป็นสารที่เป็นพิษต่อดิน ในแต่ละบริเวณมีไม่เท่ากัน แต่บริเวณที่ห่างจุดกึ่งกลางคลอง 14 เมตร ทิศเหนือมีปริมาณสังกะลีสูงที่สุดคือ 116.8 mglkg จากผลการศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของดินบริเวณปากคลองสำโรงบ้านท่าสะอ้าน ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา พบว่าคุณสมบัติทางเคมีของดินทุกบริเวณจุตเก็บตัวอย่างมีค่าแตกต่างกัน ยันเนื่องจากทุก ๆบริเวณจุด เก็บตัวอย่าง มีปริมาณการทับถมของกากตะกอนมูลฝอย และสิ่งปฏิกูในปริมาณที่แคกต่างกัน ซึ่งปัญหาน้ำทั้ง และขยะมูลฝอยจากชุมชนที่ทิ้งลงสู่ลำคลอง ทำให้สภาพคลองตื้นเข็น ก่อไห้เกิดมลภาวะทางดินและน้ำหาก ไม่ได้รับการแก้ไบสภาพปัญหาจะยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ดังนั้นตวรมีการปรับปรุงโดยการขุดลอกคลอง ตลอดทั้งสายเพื่อการถ่ายเทของน้ำได้สะดวก และอัตราการไหลของน้ำตีขึ้นนอกจากนี้ควรมีการสร้างจิตสำนึกที่ ดีให้แก่ประชาชนในการที่จะอนุรักษ์แม่น้ำลำคลองเพื่อการใช้ประโยชน์ไปได้นาน ๆสืบไป

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

ส่วนหน้า

บทคัดย่อ

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 2 การตรวจเอกสาร

บทที่ 3 วิธีการศึกษา

บทที่ 4 ผลการศึกษา

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม

ภาคผนวก