การพัฒนาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตกระดาษสาจากเส้นใยเปลือกส้มโอกับเส้นใยผักตบชวา : The Development of Optimized Ratio for the Paper Production from Grapefruit Peel Fiber with Water Hyacinth Fiber

ประเภท: 

โครงงานนักศึกษา

ผู้แต่ง: 

โนรอารฟะห์ หามะ, นายีเราะห์ ปูเต๊ะ

สำนักพิมพ์: 

โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2557

เลขหมู่: 

ว.676.22 น87ก

รายละเอียด: 

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงศ์เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของกระดาษที่ผลิตจากเส้น โยเปลือกส้มโอผสมกับเส้นใยผักตบชวา สําหรับใช้เป็นห่อของขวัญ และบัตรอวยพร โดยมุ่งเน้น อัตราส่วนของกระดาษตามผลิตภัณฑ์กระดาษชุมชน เพื่อป้องกันการใช้งานในการป้อนม้วน แรงดึง แรงเฉือน แรงบิด และแรงที่ทําให้กระดาษโค้งงอ งานวิจัยนี้เลือกใช้อัตราส่วนระหว่างเส้นใยเปลือก สัมโอกับเส้นใยผักตบชวา ร้อยละ 10902080 30.70 40-60 50:50 60:40 70:30 และ 80.20 ตามลําดับ จากนั้นนํากระดาษที่ได้ไปทดสอบหาค่าน้ําหนักมาตรฐาน ความหนา ความชื้น ความหนาแน่นปริมาตร จําเพาะ ความต้านทานแรงดึง และความต้านทางแรงฉีกขาดตามผลิตภัณฑ์กระดาษชุมชน ผลการ ทดสอบพบว่า กระดาษที่ผลิตจากเปลือกส้มโอผสมผักตบชวาในอัตราส่วนร้อยละ 40.60 และ 50-50 มีค่า ใกล้เคียงกับกระดาษจากคําผลิตภัณฑ์กระดาษชุมชนมากที่สุดคือ น้ําหนักมาตรฐานเท่ากับ 63.03 และ 66.00 g/m ความหนาเท่ากับ 017 และ 0.16 mm ความขึ้นเท่ากับ 6 และ 5 96 ความหนาแน่นเท่ากับ 0.37 และ 0.40 gem ปริมาตรจําเพาะเท่ากับ 2.68 และ 244 cm ดู ความต้านทานแรงดึงเท่ากับ ที่6แอด .ผมเละความต้านทางแรงฉีกขาด 1 แสน 11 .Nrgตามลําดับซึ่งกระดาษที่ผลิตจาก เส้นใยเปลือกส้มโอกับเส้นใยผักตบชวาในอัตราส่วนร้อยละ 40-60 และ 50:50 มีความเหมาะสมใน การผลิตกระดาษสาได้จากการทดลองที่ได้ศึกษาครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะสําหรับงานวิจัยในอนาคต คือ การศึกษาครั้งต่อไปควรมีการศึกษาตรวจสอบน้ําเสียที่ใช้หลังการทํากระดาษสาเพื่อไม่ทําลาย สิ่งแวดล้อม เนื่องด้วยการผลิตกระดาษสาต้องใช้สารเคมี

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

การพัฒนาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตกระดาษสาจากเส้นใยเปลือกส้มโอกับเส้นใยผักตบชวา