การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินสวนยางพารา ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ( Assessment of para-rubber plantations soil, Thungtamsao, Hat Yai, Songkhla)

ประเภท: 

โครงงานนักศึกษา

ผู้แต่ง: 

ชวนพิศ เพชรสมทอง,เนตรนภา บัวหมุน

สำนักพิมพ์: 

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2561

เลขหมู่: 

ว.631.42 ช17ก

รายละเอียด: 

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติบางประการของดิน และการประเมินความอุดมณ์ของดินสวนยางพารา ที่ระดับความลึก 0-5, 5-15 และ 15-30 เชนติเมตร สุ่มเก็บทุกๆ 1 ตารางกิโลเมตร ลักษณะธรณีสัณฐานแบบที่ราบลุ่มตะกอนลำน้ำในพื้นที่ปลูกยางพาราอายุ 14-20 ปี จำนวน 15 จุด ปริเวณตำบลทุ่งตำเสา อำภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลการศึกษาพบว่า ดินในพื้นที่ศึกษา ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายและดินร่วนปนทรายแป้ง ที่ระดับความลึกจาก ผิวหน้าดินทั้งสามระดับ ค่าความเป็นกรดต่าง อยู่ในระดับกรดจัตมาก (4.730.76) อยู่ในช่วงพีเอซที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณในโตรเจน และปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (ร้อยละ 1.01 :0.95, ร้อยละ 0.10#0.04/ 4.64+2.52 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ) อยู่ในระดับต่ำถึงต่ำมาก ซึ่งจัดอยู่ในช่วงที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา ส่วนปริมาณโพแทสเซียม (59.78+3297 มิลสิกรัมต่อกิโลกรัม) อยู่ในช่วงที่เหมาะต่อการปลูกยางพารา ซึ่งดินส่วนใหญ่มีขนาคอนุภาคที่เหมาะสมกับการปลูกยางพาราแต่มีค่า พีเอช ปริมาณอินทรียวัตถุ และปริมาณ ไนโตรเจน และปริมาณฟอสฟอวัสที่เป็นประโยชน์ ไม่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา ส่วนปริมาณโพแทสเซียมส่วนใหญ่มีความเหมาะสมกับการปลูกยางพารา ดังนั้นในการปลูกยางพาราในพื้นที่เกษตรควรใช้ปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีไนโตรเจน และโพแทสเซียม เพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณไนโตรเจน และปริมาณโพแทสเซียมให้แก่ดิน

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินสวนยางพารา