การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตถ่านอัดแท่งจากเปลือกทุเรียนหมอนทองผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารา (The Feasibility Study of the production of Charcoal briquettes from monthong durian peel mixed with rubber wood sawdust)

ประเภท: 

โครงงานนักศึกษา

ผู้แต่ง: 

รัชนี ขันชัย, สุกัญญา ต้มจันทร์

สำนักพิมพ์: 

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2562

เลขหมู่: 

ว.662.88 ช15ก

รายละเอียด: 

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ในการผสิตถ่วนอัตแท่งจากเปลือกทุเรียนหมอนทอง ผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารา ซึ่งเป็นการนำเอาเศษวัสตุเหลือทิ้งทางกวรเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ มา ผลิตเป็นถ่านอัดแท่งโดยนำเอาเปลือกทุเรียนหมอนทองและขี้เลื่อยไม้ยางพาราที่ตากแห้งมาเผาเป็น ถ่านแล้วนำไปบดให้เป็นผงถ่านจากนั้นนำมาผสมกับกาวป้งเปียในอัดราส่วน 100:0 80:20 60:40 50:50 40:60 20:80 และ 0:100 นำไปอัดให้เป็นแห่งด้วยวิธีการคัดเย็นโดยใช้เครื่คงกัดแบบใช้แรงคน จากนั้นนำถ่านอัดแท่งจากเปลือกทุเรียนหมอนทองผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารามาทดสอบลักษณะทั่วไป การบีบและการตกกระแทก สมบัติต้านเชื้อเพลิง และประสิทธิภาพการใช้งาน ผลการศึกษาพบว่าถ่านอัดแท่งจากเปลือกทุเรียนหมอนทองผสมขี้เลื่อยไม้ยางพาราอัตราส่วน 50:50 ดีที่สุด ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนถ่านอัดแท่ง (มผช. 238/2541) เนื่องจากลักษณะทั่วไปของถ่านอัดแท่งมีรูปทรงเดียวกัน ขนาดใกล้เคียงกัน และมีสีดำสม่ำเสมอ ไม่แตกหักจากการบีบและการตกกระแทกส่วนการทดสอบสมบัติด้านเชื้อเพลิง พบว่า มีปริมาณความชื้นร้อยละ 7.08 ปริมาณสารระเหยร้อยละ27.20 ปริมาณเถ้าร้อยละ 14.50 ปริมาณคาร์บอนคงตัวร้อยละ 51.22 และค่าความร้อนร้อยละ5.657.07 แคลอรี/กรัม สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพการใช้งาน พบว่า มีประสิทธิภาพการใช้งานร้อยละ 20.83 เมื่อเปรียบเทียบกับถ่านไม้และถ่านอัตแท่ง (ซื้อจากตลาด) จะมีคุณสมบัติต้านเชื้อเพลิงและมีประสิทธิภาพการใช้งานที่ใกล้เคียงกัน ตังนั้นจึงสรุปได้ว่าเปลือกทุเรียนหมอนทองผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารามีความเป็นไปได้ในการผลิตเป็นถ่านอัดแท่ง เพื่อทดแทนถ่านไม้และฟินจากธรรมชาติและช่วยลดปัญหามลภาวะขยะเหลือทิ้งและเป็นทางเลือกด้านพลังงานใช้แทนก๊าซหุงต้มได้

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตถ่านอัดแท่งจากเปลือกทุเรียนหมอนทองผสมขี้เลื่อยไม้ยางพารา