กลวิธีสร้างบทตลกหนังตุลุง : ศึกษาจากวรรณกรรม

ประเภท: 

งานวิจัย

ผู้แต่ง: 

เกษม ขนาบแก้ว

สำนักพิมพ์: 

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2535

เลขหมู่: 

ว.791.5 ก58ก

รายละเอียด: 

การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะหกลวิธีสร้างบทตลกหนังตะลุง และวัฒนธรรมที่ ปรากฏในบทตลกหนังตะลุง ผลจากการศึกษาพบว่า กลวิธีสร้างบทตลกหนังตะลุงจําแนกได้หลายวิธี คือ 1. หักมุม 2. ใช้ภาษาผิค 3. ใช้คําผวน 4. ใช้คํา 2 แง 2 มุม 5. ฟังไม่ได้ศัพท์จับมากระเดียด 6. คุยโวโอ้อวด 7. ตีความประสบการณ์ผิด 8. ล้อเลียนบุคคลและสังคม 9. พูดสอดเสือก เล่นลิ้น 10. ฉลาดแกมโกง 11. เปรียบเทียบชมหับ 12. ลอคนไทยอิสลามที่ทําผิดบทบัญญัติ ทางศาสนาอิสลาม 15. สัญชานไรชารูป 14. ให้ผู้อ่านคิดถึงสิ่งปกปิดที่คนสนใจอยู่แล้ว 15. แก้ตัวแบบนําขุน ๆ 16. เหน็บแนมประชดประชัน 17. กินปูนร้อนทอง 18. ฉลาดแกมโง่ 19. ล้อคนตะกละเห็นแก่กิน 20. ล้อคนจีนที่พูดภาษาไทยไม่ชัด 21. เล่นคําเลนภาษา 22. ใช้ตรรกวิทยา 23. หนามบ่งหนาม เกลือจิ้มเกลือ 24. เรื่องเกินจริงเกินเชื่อ 25. ใช้วิธีประสมประสาน - วัฒนธรรมที่ปรากฏจําแนกได้หลายด้าน คือ 1. วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย 2. วัฒนธรรม ด้านการประกอบอาชีพ 3. วัฒนธรรมด้านการละเล่น 4. วัฒนธรรมด้านการใช้ภาษา ซึ่งจําแนก ได้เป็น 3 ประเด็น คือ การตั้งชื่อ คําที่น่าสนใจ การเปรียบเทียบที่นาสนใจ 5. วัฒนธรรม คานการใช้อาวุธ 6. วัฒนธรรมด้านการประกอบอาหาร 7. วัฒนธรรมด้านความเชื่อ 8. วัฒนธรรม ด้านค่านิยม กลวิธีสร้างบทตลกและวัฒนธรรมที่ปรากฏนี้สัมพันธ์แนบสนิทกับวิถีชีวิตของชาวบ้านภาคใต้ การเข้าใจบทตลกและกลวิธีสร้างบทตลกหนังตะลุง ช่วยให้เราเข้าใจภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของชาวบ้านภาคใต้อีกหลายด้าน ซึ่งสามารถนําไปพัฒนาชีวิตสังคมและระบบนิเวศของชาวบ้านภาคใต้ได้ตรงจุดและได้รับผลมากยิ่งขึ้นคานคน

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

ส่วนหน้า

บทคัดย่อ

สารบัญ

บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทที่ 4

บทที่ 5

บรรณานุกรม

ประวัติผู้แต่ง