ดนตรีรองเง็ง : กรณีศึกษาคณะขาเดย์ แวร์เด็ง

ประเภท: 

งานวิจัย

ผู้แต่ง: 

ประภาส ขวัญประดับ

สำนักพิมพ์: 

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2546

เลขหมู่: 

ว.793.31 ป17ง

รายละเอียด: 

การวิจัยเรื่อง คนตรีรองเง็ง : กรณีศึกษาคณะขาเดย์ แวร์เด็ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ ประวัติดนตรีรองเง็ง วิเคราะห์ดนตรีรองเง็ง คณะขาเดย์ แวร์เด็ง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ดนตรีพื้นบ้านภาคใต้มีวัตถุประสงค์ในการบรรเลงเพื่อประกอบพิธีกรรมและ บรรเลงเพื่อความบันเทิง 2.ประวัติดนตรีรองเง็ง ได้มีการแสดงดนตรีรองเง็งในภาคใต้ของไทยเมื่อประมาณ 200 ปี โดยจะพบบริเวณจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัด นราธิวาส และบริเวณจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตก เช่น จังหวัดสตูล จังหวัดตรัง จังหวัดกระบี่ เป็นต้น 3.องค์ประกอบของดนตรีรองเง็ง คณะขาเดย์ แวร์เด็ง พบว่ามีบันไดเสียงแบบ ไดอาทอนิค (Diatonic) เมเจอร์ (Major) และไมเนอร์ (Minor) มีการประสานเสียงแบบ Quasi Homophonic และ Monophony

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

ส่วนหน้า

บทคัดย่อ

สารบัญ

บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทที่ 4

บทที่ 5

บรรณานุกรม

ประวัติผู้แต่ง