การวิเคราะห์บทเพลงของดอกหญ้านางเมิน

ประเภท: 

งานวิจัย

ผู้แต่ง: 

เกษม ขนาบแก้ว

สำนักพิมพ์: 

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ปีที่พิมพ์: 

2549

เลขหมู่: 

ว.784.49593 ก58ก

รายละเอียด: 

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ ๒ ประการ คือ ๑ เพื่อรวบรวมบทเพลงของดอก หญ้า นางเมิน ๒ เพื่อวิเคราะห์บทเพลงของดอกหญ้า นางเมินใน ๔ ประเด็นคือ ๑) กลวิธีการประพันธ์ ๒) การใช้คําสแลง คําทับศัพท์ภาษาอังกฤษ คําภาษาไทยถิ่นใต้ ๓) การใช้สํานวนไทย ๔) การสะท้อนทัศนะ วัฒนธรรม ปัญหาสังคม โดยศึกษาจาก บทเพลงของคอกหญ้า นางเมิน จํานวน ๒๑๖๐เพลง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ บทเพลงของดอกหญ้า นางเงินมีทั้งหมด ๒๑๖๓ เพลง ผลการวิจัยประเด็นต่าง ๆ ที่ปรากฏในบทเพลงของคอกหญ้า นางเมินสรุปได้ดังนี้ ในบทเพลงของดอกหญ้า นางเมิน ใช้กลวิธีการประพันธ์ ๔ ลักษณะคือ ๑) การใช้รูปแบบคําประพันธ์ได้แก่ การใช้กลอน กลอนตัวเดียว กลอนกลบท ๒) การใช้คํา ได้แก่ การใช้คําสัมผัส คําที่มีความหมายตรงกันข้ามคําผวน คํา ๒ แง่ ๒ มุม ทําเลียนเสียง คําอุทานเสริมบท การเคียงคํา การหลากคํา การสลับคํา การเล่นคํา ๓) การใช้ภาพพจน์ ได้แก่ การใช้อุปมา อุปลักษณ์ อธินามนัย อธิพจน์ วิภาษ อรรถวิภาษ บุคคลาธิษฐาน สัญลักษณ์ การกล่าวประชด ปฏิปุจฉา อนุนามนัย ปฏิรูปพจน์ ๔) วิธีการสร้างเรื่อง ได้แก่ การหักมุม การชี้ให้เห็นความเหมือนและความแตกต่าง การเสนอความคิดที่น่าสนใจ การผูกเรื่อง ที่มีเหตุผลและสมเหตุสมผล ในด้านการใช้คําสแลง คําทับศัพท์ภาษาอังกฤษ คําภาษาไทยถิ่นใต้ สํานวนไทย ในบทเพลงของดอกหญ้า นางเมิน มีการใช้คําสแลงไม่ น้อยกว่า ๖๖ คํา คําทับศัพท์ภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า ๑๖๒ คํา คําภาษาไทยถิ่นใต้ไม่

ไฟล์เอกสาร: 

(คลิกที่ชื่อเอกสารเพื่ออ่าน) 

ส่วนหน้า

บทคัดย่อ

สารบัญ

บทที่1 บทนำ

บทที่2 ประวัติผลงานคุณลักษณะและเกียรติคุณของดอกหญ้า นางเมิน

บทที่3 กลวิธีประพันธ์ที่ปรากฏในบทเพลงของดอกหญ้า นางเมิน

บทที่4 การใช้คำสแลง คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ คำภาษาไทยถิ่นใต้ที่ปรากฏในบทเพลงของดอกหญ้า นางเมิน

บทที่5 การใช้สำนวนไทยในบทเพลงดอกหญ้า นางเมิน

บทที่6 การสะท้องทัศนะวัฒนธรรมและปัญหาสังคมที่ปรากฏในบทเพลงของดอกหญ้า นางเมิน

สรุปผลการวิจัยอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม

ประวัติผู้วิจัย